Page 23 - Ricoh Family
P. 23
It trends
พื้นฐานแบบคลาวด์ของอาลีบาบา ระบบ 3DAT นี้ท�างานร่วมกับ จ�านวนกว่า 300,000 คนภายในเกม ไม่ว่าจะเป็นนักกีฬา อาสาสมัคร
Olympic Broadcast Services (OBS) ใช้กล้องที่เคลื่อนที่ได้ไว สื่อมวลชน หรือเจ้าหน้าที่ด้านอื่นในจุดทางเข้าพื้นที่หรือบริเวณที่พัก
แพนมุมกล้องได้ดีถึง 4 ตัวเพื่อจับภาพการเคลื่อนไหวของนักวิ่ง ประโยชน์ที่จะได้มีตั้งแต่การป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากการปลอมตัว
จากนั้นจึงใช้อัลกอริทึมในการประมาณและวิเคราะห์กลไกทางชีวภาพ เข้ามา ไปจนถึงการลดเวลารอคิวตรวจสอบบัตรประจ�าตัว
ของการเคลื่อนไหวของนักกรีฑา จากนั้นระบบจะแปลงข้อมูลดังกล่าว
มาเป็นภาพจ�าลองที่ซ้อนขึ้นมาบนระหว่างการฉายภาพช้าของการ ทาง NEC ยังติดตั้งซอฟต์แวร์ตรวจจับและวิเคราะห์พฤติกรรม
แข่งวิ่ง 100 เมตร หรืองานแข่งวิ่งความเร็วสูงอื่นๆ เพื่อใช้ตรวจสอบและพิจารณาลักษณะท่าทางหรือกิจกรรมของบุคคล
ฝูงชน วัตถุ และยานพาหนะต่างๆ ในพื้นที่จัดกิจกรรมด้วย
การฝึกอบรมผ่าน VR
ทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากลหรือ IOC และอินเทลได้ร่วมมือกัน ฝนดาวตกจ�าลอง
พัฒนาและวางระบบโซลูชั่นที่อาศัยประสบการณ์ของทาง IOC เป็นโครงการที่เกิดจากความมุ่งมั่นของสตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยี
และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีของอินเทลมาช่วยในการจัดการ อวกาศของญี่ปุ่นชื่อ ALE โดยฝนดาวตกด้วยน�้ามือมนุษย์นี้ท�าขึ้นจาก
ทีมงานจัดการแข่งขันให้พร้อมปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งระบบการสอนงานผ่าน “วัสดุดาวตก” ที่ฉีดปล่อยออกมาจากดาวเทียมลงมายังชั้นบรรยากาศ
VR จะถูกน�ามาใช้ส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้นส�าหรับ ฝนดาวตกจ�าลองของ ALE นี้กล่าวกันว่าจะตกลงมาช้ากว่า และ
เจ้าหน้าที่หลักที่ประจ�าอยู่ที่จุดแข่งขัน ระบบฝึกอบรมผ่าน VR ของ ขนาดใหญ่กว่าแบบที่พบในธรรมชาติ รวมทั้งได้รับการออกแบบให้
อินเทลนี้ยกระดับประสิทธิภาพการสอนด้วยประสบการณ์ที่เหมือนจริง มองเห็นได้ชัดเจนมากที่สุด ทาง ALE วางแผนจะปล่อยกลุ่มดาวตก
มากขึ้นส�าหรับผู้เรียน พร้อมทั้งได้รับการติชมหรือให้ความเห็นได้ เหล่านี้จากดาวเทียมที่ความสูงระดับ 400 กิโลเมตร ซึ่งน่าจะเริ่ม
แม่นย�า เป็นประโยชน์มากขึ้น ระบบฝึกอบรมนี้ยังรวมไปถึงการสร้าง มองเห็นจากระยะ 200 กิโลเมตรเหนือผืนดิน ระหว่างช่วงแข่งขัน
ระบบแบบดิจิทัลที่รู้จักกันในชื่อ “คู่แฝดดิจิทัล” ที่เปิดโอกาสให้ใช้ กีฬาโอลิมปิก
ประโยชน์จากข้อมูลมาประยุกต์ได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการฝึกอบรม
การวางแผน การจ�าลองเหตุการณ์ เป็นต้น ซึ่งเมื่อเดือนที่ผ่านมานั้น โปรเจกต์นี้กลับเจออุปสรรคจาก
ความล่าช้าในการยิงจรวดเพื่อติดตั้งดาวเทียมของ ALE อย่างไรก็ตาม
NeoFace ทางซีอีโออย่าง Lena Okajima ยังมองในทางบวกว่า “แม้การ
ฝ่ายเทคโนโลยีจดจ�าใบหน้าของ NEC ได้พัฒนาระบบจดจ�าใบหน้า พัฒนาดาวเทียมของเราก�าลังรอการยืนยันเพื่อยิงปล่อยสู่อวกาศ
ขนาดใหญ่ในชื่อ “NeoFace” ส�าหรับกีฬาโอลิมปิกและพาราลิมปิก แต่เราก็คาดหวังว่าความล่าช้านี้จะไม่กระทบกับแผนการที่พวกเรา
ในกรุงโตเกียว ซึ่งเทคโนโลยีจดจ�าใบหน้านี้จะน�ามาใช้ระบุตัวตนบุคคล ตั้งใจมากส�าหรับโปรเจกต์นี้”
ที่มา : https://www.frontier-enterprise.com/frontier-technologies-at-the-olympic-games-tokyo-2020/
January - March 2020 | rIcOh FaMIly 23