Page 27 - Ricoh Family
P. 27
Feature
ปัจจุบันมีการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ด้วยตัวเองทุกๆ 2 - 3 ปี แล้วแต่
เวลาที่ก�าหนดในแต่ละบริเวณ
แม้วิธีนี้สามารถให้การวิเคราะห์พื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการจอดรถได้ แต่จากความถี่ที่ต�่าในการรวบรวมข้อมูล
ท�าให้น�ามาจัดการต่อได้ช้าเกินไปทั้งด้านกระบวนการตัดสินใจ
ที่เกี่ยวข้อง และการเปลี่ยนแปลงข้อก�าหนดกฎหมาย
รูปแบบที่ 2 - การให้ข้อมูลพื้นที่ที่เข้าจอดได้แก่ผู้ขับขี่
การแสดงข้อมูลแบบเรียลไทม์เกี่ยวกับจ�านวนพื้นที่ว่างบนกระดาน
ประชาสัมพันธ์ของทางการเมืองถือว่ามีประโยชน์มากส�าหรับผู้ขับขี่
ที่ก�าลังมองหาพื้นที่ที่จะจอดรถ โดยช่วยให้พวกเขาลดเวลาในการ
ขับหาที่จอด และท�าให้การเดินทางมีประสิทธิภาพขึ้น
รูปแบบที่ 3 - การปรับปรุงการบังคับใช้กฎ
ระบบนี้นิยมใช้ในที่จอดรถที่แยกออกมาเฉพาะ แต่ก็สามารถ ค่าใช้จ่ายในการจัดการระบบจอดรถบนถนนที่มากที่สุดนั้นคือ
น�ามาใช้กับที่จอดข้างถนนได้ด้วย ถ้าสามารถแสดงอัตราการเข้าจอด ค่าใช้จ่ายในการควบคุมตามกฎหมายที่จ�าเป็นต้องน�ามาเปรียบเทียบ
บนแต่ละถนนหรือพื้นที่ได้ก็จะช่วยท�าให้การจราจรไหลเวียนได้ดีขึ้น กับรายรับ ซึ่งนับเป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักส�าหรับจัดการที่จอดรถ
ให้มีประสิทธิภาพยิ่งบังคับใช้กฎระเบียบได้มีประสิทธิภาพมากเพียงใด
ข้อมูลอัตราการเข้าจอดนี้ยังสามารถแสดงได้ทั้งบนป้ายที่เปลี่ยน ก็ยิ่งท�าให้ผู้ขับขี่จอดรถอย่างเป็นระเบียบมากขึ้น อันน�าไปสู่อัตรา
ข้อความได้ หรือแม้กระทั่งบนสมาร์ทโฟนของผู้ขับขี่โดยตรงเนื่องจาก การเปลี่ยนรถจอดที่สูงขึ้น และสัดส่วนการใช้พื้นที่จอดน้อยลงได้
ยานพาหนะก�าลังจะมีความสามารถในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
มากขึ้นในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ท�าให้ข้อมูลนี้สามารถเข้าถึงได้บนแผง การน�าข้อมูลการเข้าใช้พื้นที่จอดผสานร่วมกับข้อมูลการช�าระ
ควบคุม ค่าจอดรถแบบเรียลไทม์นั้น จะท�าให้รู้ได้ถึงพื้นที่และเวลาที่มักมีการ
ละเมิดกฎการจอดรถ เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายก็จะท�างานได้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งยังเพิ่มอัตราการจ่ายค่าจอดรถที่ถูกต้อง
ในแต่ละพื้นที่ได้ไปพร้อมกัน
มาดูตัวอย่างวิธีการสื่อสารกับผู้ขับขี่ในโลก
ของสมาร์ทซิตี้ว่าจะมีอะไรบ้าง รูปแบบที่ 4 - การก�าหนดค่าจอดแบบไดนามิก
ค่าจอดรถนั้นสามารถใช้เป็นเครื่องมือปรับความต้องการให้
ป้ายแบบไดนามิก สอดคล้องกับพื้นที่จอดที่มีให้ โดยถ้าทราบสัดส่วนการใช้พื้นที่จอดรถ
ไว้ตั้งในเขตตัวเมืองหรือถนนที่เข้าเมือง ซึ่งป้ายไฟ แล้ว ก็สามารถปรับค่าจอดรถให้สอดคล้องตามได้
ที่ขึ้นข้อความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้นี้จะแสดงจ�านวน
พื้นที่จอดที่ว่างอยู่ทั้งในที่จอดรถสาธารณะ และที่จอด มีการทดลองใช้วิธีนี้ในหลายแห่ง โดยเฉพาะที่ซานฟรานซิสโก
บนไหล่ทางในแต่ละพื้นที่
ซึ่งพบว่าการตั้งราคาค่าจอดแบบเฉลี่ยคงที่ หรือลดราคาลงทั่วเมืองนั้น
ช่วยยกระดับการใช้ประโยชน์จากพื้นที่จอดได้ โดยมีการปรับค่าจอด
สมาร์ทโฟน ให้แตกต่างกันในแต่ละเขตหรือบริเวณ การคิดค่าจอดรถแบบไดนามิก
ซึ่งมักอยู่ใกล้มือผู้ขับขี่ส่วนใหญ่อยู่แล้ว สามารถใช้ จะช่วยให้ตัดสินใจหาที่จอดได้ง่ายขึ้น และลดความแออัดของจราจร
รับข้อมูลที่เกี่ยวกับที่จอดว่างบนถนนได้โดยตรง และ ในที่สุด
เมื่อเลือกที่จอดได้แล้ว ก็จะมีการน�าทางไปยังต�าแหน่ง
ที่ต้องการได้ ยิ่งไปกว่านั้น ถ้ารถมีการติดตั้งระบบอย่าง บทสรุป
CarPlay หรือ Android Auto ก็สามารถใช้แอปที่เกี่ยวกับ การจราจรในเขตเมืองมีแต่จะหนาแน่นมากขึ้น ท�าให้ที่จอดรถ
จอดรถที่ปัจจุบันมีการพัฒนาให้ผู้ขับขี่ใช้งานได้สะดวก ในใจกลางเมืองพบกับความท้าทาย และอุปสรรคมากมาย การบริหาร
มากขึ้นเรื่อยๆ
จัดการที่จอดรถแห่งอนาคตในยุคใหม่ที่ได้เอ่ยไปในข้างต้นจะสร้าง
สิ่งที่เกิดขึ้นมากมาย โดยสามารถเพิ่มการเข้าถึงธุรกิจในท้องถิ่น
GPS ในรถยนต์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้คนใช้มากกว่าวิ่งแย่งกันเข้ามาใช้ศูนย์การค้าในเมือง
เป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูล ส่งเสริมให้ผู้คนที่ท�างานในใจกลางเมืองใช้วิธีจอดรถแล้วขี่จักรยานหรือ
พร้อมทั้งน�าทางได้ในตัว
ใช้รถสาธารณะเข้ามาแทน ท�าให้ใจกลางเมืองน่าดึงดูดส�าหรับอยู่อาศัย
มากขึ้น และรวมถึงส่งเสริมการเดินทางที่ไม่ใช้ยานพาหนะ
January - March 2020 | rIcOh FaMIly 27