Page 14 - Ricoh Magazine
P. 14
M RICOH MISC
ตัวเลขทั้ง 13 ชนิดที่ควรท่องให้ขึ้นใจ
เพื่อใช้ทำามาหากินด้านเน็ตเวิร์ก
ระบบคอมพิวเตอร์มีรากฐานมาจากตัวเลข ตั้งแต่เลขฐานสอง 2.4 กับ 5
ที่มีแค่ 0 กับ 1 ดังนั้นแม้เทคโนโลยีจะถูกพัฒนาก้าวไกลซับซ้อนมาก เป็นเลขบอกย่านความถี่ของเครือข่าย Wi-Fi ที่แต่ละมาตรฐาน
ขึ้นถึงยุคปัจจุบันแล้ว แต่คณิตศาสตร์ก็ยังเป็นพื้นฐานส�าคัญส�าหรับ ที่มีการใช้งานอยู่ปัจจุบันเลือกใช้อยู่แค่ 2 ย่านความถี่ได้แก่ 5GHz และ
ผู้ที่ใช้ทักษะด้านไอทีเป็นหลักอยู่ดี 2.4GHz แม้อุปกรณ์ส่วนใหญ่จะรองรับทั้งสองย่านความถี่ (Dual Band)
ก็ตาม แต่ก็ส�าคัญมากที่ต้องพิจารณาเลือกใช้มาตรฐานหรือย่านความถี่
โดยเฉพาะงานในวงการเน็ตเวิร์กที่มักมีชุดตัวเลขที่ท่องจ�าขึ้นใจ ที่ตรงกันระหว่างตัวรับและตัวส่งเพื่อให้สามารถสื่อสารได้ทั่วถึงกันหมด
เนื่องจากใช้งานบ่อยมาก ไม่ว่าจะเป็นตระกูลไอพี 192.168.x.x,
255.255.255.0 หรือชุดตัวเลขเวลาแบ่งซับเน็ตเป็นต้น ดังนั้นลองมา 5-4-3-2-1
ดูกันว่าเมจิกนัมเบอร์ที่มืออาชีพจ�าขึ้นใจนั้นมีอะไรกันบ้าง เป็นสูตรพื้นฐานของการออกแบบเครือข่ายอีเธอร์เน็ตสมัย
ดึกด�าบรรพ์ที่เรียนกันมาตั้งแต่ยุคพระเจ้าเหาถึงปัจจุบัน ที่กล่าวถึง
1, 6, 11 จ�านวนโหนดสูงสุดของเครือข่ายในยุคที่ไม่รู้จักอุปกรณ์ที่ช่วยแก้ปัญหา
เป็นเลขประจ�าช่องสัญญาณหรือแชนแนลของเครือข่าย Wi-Fi ข้อมูลชนกันอย่าง “สวิตช์”
ที่ปกติมีให้เลือกตั้งแต่ 1 – 11 (หรือถึง 14 ส�าหรับมาตรฐานใหม่ๆ)
ซึ่งแน่นอนว่าเราควรเลือกช่องสัญญาณของแต่ละ AP ให้ซ้อนทับ 10 (100 และ 1000)
หรือรบกวนกันน้อยที่สุด จึงเป็นที่มาของช่องสัญญาณยอดนิยมอย่าง เป็นอัตราเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดตามทฤษฎีของอีเธอร์เน็ต
1, 6, และ 11 ที่ศึกษากันแล้วว่าทับกันน้อยที่สุด ได้ประสิทธิภาพ แต่ละมาตรฐาน อันได้แก่ Ethernet ดั้งเดิม (10 Mbps), Fast Ethernet
มากที่สุด (100 Mbps), และ Gigabit Ethernet (1000 Mbps)
14 RICOH MAGAZINE