Page 8 - Ricoh Magazine
P. 8

RICOH
                                                     MISC















































                             9 ทิปเด็ดเคล็ดลับปกป้อง IoT


                                        ในบ้านจากเหล่าร้าย



          ทุกวันนี้  ทุกบ้านต่างมีอุปกรณ์อย่างน้อยหนึ่งชิ้นที่เชื่อมต่อกับ  การรักษาความปลอดภัย รวมทั้งใช้ VPN ทุกครั้งที่เชื่อมต่อเข้าเครือข่าย
        อินเทอร์เน็ตภายนอก ยังไม่นับรวมอุปกรณ์ติดตัวอย่างแล็ปท็อป แท็บเล็ต   ภายในบ้านจากระยะไกล
        และสมาร์ทโฟน ซึ่งอุปกรณ์อัจฉริยะเหล่านี้มักตกเป็นเครื่องมือให้แฮกเกอร์    5.  ปลดการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ที่ไม่จ�าเป็นต้องใช้อินเทอร์เน็ต เช่น ถ้า
        น�าไปใช้โจมตีชาวบ้าน หรือลากคุณไปเอี่ยวกับอาชญากรรมโดยไม่ตั้งใจ ไม่  ใช้พรินเตอร์ผ่านสาย USB ก็ไม่จ�าเป็นต้องเปิดการเชื่อมต่อ Wi-Fi
        ว่าจะโดนสิงเป็นซอมบี้ร่วมในกองทัพ DDoS หรือกลายเป็นอุปกรณ์สายลับ    6.  พึงระวังอุปกรณ์ทุกตัวที่เชื่อมต่อเน็ตได้ที่คุณอาจมองข้าม ที่จ�าเป็น
        สืบข้อมูลในบ้านเสียเอง เป็นต้น                        ต้องเข้าตั้งค่าและรักษาความปลอดภัยอย่างเหมาะสมให้ครอบคลุม เช่น เกม
          การรักษาความปลอดภัยให้แก่อุปกรณ์อัจฉริยะภายในบ้านจึงเป็นสิ่ง  คอนโซล เครื่องเล่นเพลง หรืออุปกรณ์มีไมค์หรือกล้อง เป็นต้น
        ส�าคัญอย่างยิ่ง ซึ่งทาง SecureReading.com ได้รวบรวมทิปเด็ด 9 ประการ    7.  ใช้ไฟร์วอลล์เพื่อปิดกั้นทราฟิกที่ไม่ได้รับอนุญาต เช่น การใช้ระบบ
        ที่ช่วยปัดรังควานแฮกเกอร์ไม่ให้มาข้องแวะกับทรัพย์สินในบ้านของคุณไว้ดัง  UTM ในจุดที่มีอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเป็นจ�านวนมาก ไม่ว่าจะเป็น
        ต่อไปนี้                                              สแกนเนอร์ พรินเตอร์ ทีวี ประตูอัตโนมัติ หรือแม้แต่เทอร์โมสตัท
          1.  เปลี่ยนรหัสผ่าน หรือเปลี่ยนค่าเซ็ตติ้งที่มาจากโรงงาน โดยให้แน่ใจ    8.  ระวังความปลอดภัยทางกายภาพด้วย เช่น อุปกรณ์ที่มีพอร์ตแลนว่าง
        ว่ามีการตั้งรหัสที่แข็งแกร่งเพียงพอ รวมทั้งปิดฟีเจอร์ Universal Plug and   ให้คนภายนอกแอบมาเสียบเชื่อมต่อเข้าเครือข่ายในบ้านได้ง่ายๆ
        Play (UPnP) บนเราเตอร์และอุปกรณ์ IoT เท่าที่ท�าได้      9.  ศึกษาให้ดีก่อนซื้ออุปกรณ์ IoT นั้นๆ มาใช้ โดยเฉพาะเรื่องของ
          2.  แบ่งเครือข่ายออกเป็นส่วนย่อยๆ เราท์เตอร์บางรุ่นสามารถแบ่ง   ความปลอดภัยและการประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว
        เครือข่ายฝั่งแลนได้ด้วย ซึ่งก็ควรแยกเครือข่ายของพวก IoT ออกจาก  พยายามเลือกผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบโดยค�านึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เช่น
        คอมพิวเตอร์ที่ใช้ท�างานหรือเข้าถึงเว็บออนไลน์แบงก์กิ้ง  ใช้การเชื่อมต่อที่เข้ารหัส หรือมีการอัพเดทอยู่เสมอ l
          3.  อัพเดทเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ IoT อยู่เสมอ เพื่อแพ็ตช์ช่องโหว่ก่อนที่
        แฮ็กเกอร์จะใช้เป็นช่องทางเข้าถึงหลังบ้านของคุณ
          4.  หลีกเลี่ยงการเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับเครือข่ายสาธารณะที่ไม่  ที่มา : https://securereading.com/nine-tips-for-securing-iots-and-

                                                                    smart-home-devices
        ปลอดภัย พยายามใช้ HTTPS และหลีกเลี่ยงการเชื่อมต่อกับ Wi-Fi ที่ไม่มี

                                                      www.ricoh.co.th
                                                      www.ricoh.co.th
                                                            8 8
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13