Page 30 - Ricoh Family
P. 30
MIsC
ตัวชี้วัดทางเน็ตเวิร์ก 3 ประการ
สำาหรับวิเคราะห์ปัญหาด้านประสิทธิภาพ
การตรวจสอบประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์กนั้นจะใช้ข้อมูลโฟลว์ ถ้าค่านี้จะมีปัญหา จะเกิดจากความผิดปกติของระบบปฏิบัติการ
ทราฟิก หรือที่เรียกว่า NetFlow ซึ่งเป็นแนวทางในการแยกแยะหา เองซึ่งมักไม่เกิดขึ้นในการใช้งานจริง ส่วนค่านี้จะสามารถบอกสาเหตุ
ต้นเหตุที่แท้จริงของปัญหาด้านประสิทธิภาพที่เกี่ยวกับทราฟิกบน ของดีเลย์บนเครือข่ายต่างๆ ได้ เช่น การท�างานมากเกินไปของอุปกรณ์
เครือข่าย ด้วยการวัดค่าลักษณะต่างๆ บนเลเยอร์ตั้งแต่ L2 – L7 เครือข่าย การที่ไคลเอนต์เชื่อมต่อจากระยะไกล การใช้แอปบนคลาวด์
การเชื่อมต่อระหว่างอีเธอร์เน็ตเทียบกับ Wi-Fi และคอขวดของ
ปกติแล้วสาเหตุพื้นฐานของปัญหาด้านประสิทธิภาพเครือข่าย ประสิทธิภาพจากการใช้พอร์ตที่ความเร็วต่างกัน เป็นต้น
มีอยู่ 3 ประการ ได้แก่ เวลาเดินทางไปกลับ (Round Trip Time),
เวลาตอบสนองจากเซิร์ฟเวอร์, และ Jitter ซึ่งแต่ละอย่างนั้นสามารถ 2. ตัวชี้วัด Server Response Time
ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านประสิทธิภาพไปจนถึaงดาวน์ไทม์ได้ นอกจากนี้ยังมีเรื่องเวลาตอบสนองของเซิร์ฟเวอร์ ที่แสดงถึงเวลา
ที่ร้องขอการประมวลผลบนฝั่งเซิร์ฟเวอร์ และแสดงถึงดีเลย์ที่เกิดจาก
1. ตัวชี้วัด Round Trip Time ตัวแอปพลิเคชันเอง ค่าที่วัดได้นี้เป็นเวลาที่แตกต่างกันระหว่างเวลา
Round Trip Time หรือที่เรียกว่า Network Delay นั้น เป็นค่า ที่คาดการณ์ไว้ของแพ็กเก็ต ACK บนเซิร์ฟเวอร์ กับเวลาที่เซิร์ฟเวอร์
เวลาที่ใช้ในการส่งข้อมูลแพ็กเก็ตที่วิ่งจากเครื่องไคลเอนต์ไปยัง ตอบสนองจริง
เซิร์ฟเวอร์ และวิ่งกลับมาอีกทีหนึ่ง เป็นค่าตัวเลขจ�านวนเดียวที่แสดง
ถึงประสิทธิภาพของเน็ตเวิร์กโดยตรง ค�านวณโดยการเฝ้าติดตามเวลา 3. เรื่องของ Jitter
ที่ใช้ในการสร้างเซสชั่น TCP ส่วน Jitter คือค่าความหลากหลายของดีเลย์แต่ละแพ็กเก็ต ที่แสดงถึง
ความผิดปกติของโฟลว์ข้อมูล ยิ่งมีความแตกต่างของดีเลย์แต่ละ
ซึ่งค่าทั่วไปบนเครือข่ายองค์กรในต�าแหน่งที่ตั้งเดียวกันนั้นจะ แพ็กเก็ตมากยิ่งผิดปกติ ซึ่งปกติแล้ว ดีเลย์ระหว่างแพ็กเก็ตจะคงที่
น้อยกว่า 1 ms (หรือแม้แต่ประมาณหนึ่งในสิบของไมโครวินาที) หรือ Jitter เท่ากับศูนย์
ในฐานะที่สื่อสารอยู่บนเน็ตเวิร์กภายใน ทั้งนี้แอปพลิเคชันจะไม่มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการท�า TCP Handshake เนื่องจากเป็นส่วนของ
TCP/IP Stack ที่อยู่บนตัวระบบปฏิบัติการเอง ที่มา : Networkcomputing