Page 3 - Ricoh Family
P. 3
OutlOOk
วอลล์เปเปอร์หรือวัสดุปูพื้นที่จะกลายเป็นขยะที่ต้องหาพื้นที่ ภาพที่มีความละเอียดสูงอย่างแท้จริง ซึ่งการน�าเทคโนโลยีนี้มา
ก�าจัดหรือฝังกลบเมื่อเทรนด์ความต้องการเปลี่ยนไป อย่างไรก็ดี ประยุกต์กับการพิมพ์เซลล์แบบสามมิติ ท�าให้เราสามารถพัฒนา
ความสามารถในการพิมพ์ตามจ�านวนและเวลาที่ต้องการ ที่ตอบ เครื่องพิมพ์สามมิติแบบชีวภาพที่สร้างเนื้อเยื่อมนุษย์ได้ตามต้องการ
สนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างยืดหยุ่นนี้ ต้องการความสามารถ เหมือนการก่ออิฐสร้างบ้าน
ของเทคโนโลยีทางดิจิทัลเข้ามาร่วมด้วย
“เรามั่นใจว่าเทคโนโลยีเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทที่ RICOH พัฒนา
จากการวิจัยของ RICOH นั้นสัดส่วนของการปฏิวัติทางดิจิทัล มาอย่างต่อเนื่อง จะช่วยส่งเสริมให้สามารถประกอบเซลล์ด้วย
ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตทั้งด้านสิ่งทอและวัสดุก่อสร้างนั้น ความแม่นย�าสูงจนออกมาเป็นเนื้อเยื่อมนุษย์ที่ท�างานได้เหมือนจริง
ยังน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ในตอนนี้ ซึ่งถ้าผู้ผลิตเลือกบุกเบิก อย่างสมบูรณ์” มานาบุ เซโอะ จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต
ด้วยการหันมาใช้เทคโนโลยีงานพิมพ์แบบ On-demand ก็จะสามารถ ของ RICOH กล่าว
ช่วยจ�ากัดสต็อกทั้งวัตถุดิบและสินค้า น�าไปสู่การลดการสูญเสีย
โดยไม่จ�าเป็นที่คุ้มค่ากว่าเดิมมากด้วย นอกจากนี้ RICOH ยังได้ การพิมพ์ออกมาเป็นเนื้อเยื่อที่มีชีวิตนี้ถือเป็นงานที่ท้าทาย
พัฒนาหมึกแบบพิเศษที่ช่วยลดความจ�าเป็นในขั้นตอนการล้าง เป็นอย่างมาก ซึ่ง RICOH จ�าเป็นต้องปรับแต่งท่อฉีดของเครื่องพิมพ์
ท�าความสะอาดที่ช่วยลดทั้งของเสีย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อิงค์เจ็ทเดิมให้สามารถคงสภาวะพิเศษที่น�ามาใช้ฉีดพิมพ์เซลล์
ได้อีก ที่มีชีวิตได้เหมือนจริง และฉีดให้ผสานซ้อนกันเป็นชั้นเนื้อเยื่อได้ด้วย
โดยไม่ต้องอาศัยความร้อนหรือวิธีอื่นที่จะสร้างความเสียหายกับเซลล์
งานพิมพ์แบบ On-Demand นั้นไม่เพียงช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติ แต่ในที่สุด RICOH ก็สามารถพัฒนาและผสานรวมเอาเทคโนโลยี
เท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ได้ด้วย เนื่องจาก ต่างๆ มาใช้กับเซลล์ที่มีชีวิตได้ และปัจจุบันก็ก�าลังมุ่งมั่นพัฒนา
การก�าจัดข้อจ�ากัดด้านปริมาณขึ้นต�่า และก�าไรที่ท�าได้มากขึ้นจะ ด้านความแม่นย�าของกลไกการฉีดปล่อยเซลล์เพื่อให้สามารถสร้าง
ช่วยสนับสนุนให้ผู้ผลิตสามารถเนรมิตงานดีไซน์ที่เป็นเอกลักษณ์ อวัยวะเหมือนจริงได้ในอนาคต
ในค่าใช้จ่ายที่สมเหตุสมผลกว่าเดิม
และในแง่ของการน�าเทคโนโลยีงานพิมพ์มาประยุกต์ใช้อย่าง
หลากหลายมากขึ้นนั้น มีความก้าวหน้าที่เรียกว่าสร้างความ
สั่นสะเทือนทั้งวงการอย่างเทคโนโลยีงานพิมพ์สามมิติ โดยเฉพาะ
การน�ามาใช้สร้างเนื้อเยื่อเซลล์ และกระดูกทางชีวภาพ ไปจนถึง
การพิมพ์ชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ท�าให้งานพิมพ์แบบสามมิติ
ช่วยลดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตสิ่งเหล่านี้ลงได้มาก
ทาง RICOH เองก็เห็นความส�าคัญและมุ่งมั่นพัฒนาการประยุกต์ใช้
ในด้านวิศวกรรมชีวภาพและทางการแพทย์ เพื่อสานต่ออนาคต
ของการรักษาในรูปของการฟื้นฟูส่วนต่างๆ ของร่างกาย ที่ก่อนหน้านี้
เคยมองกันว่าเป็นแค่เรื่องในนิยายวิทยาศาสตร์เท่านั้น
ทุกคนลองนึกภาพการซ่อมแซมส่วนที่บาดเจ็บบนร่างกายผู้ป่วย
ด้วยเนื้อเยื่อมนุษย์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ หรือการเปลี่ยนหัวใจที่เสียหาย
ด้วยหัวใจอันใหม่ที่สามารถพิมพ์ขึ้นมาได้เหมือนจริงอย่างสมบูรณ์
ที่เป็นผลงานจากเทคโนโลยีงานพิมพ์ที่คล้ายกับเครื่องพิมพ์
อิงค์เจ็ททั่วไปที่เราคุ้นเคย RICOH เองมองเทคโนโลยีเป็นเรื่องของ
การสนับสนุนงานผลิตอย่างเป็นรูปธรรม อย่างการเปลี่ยนอวัยวะ “แนวคิดของการพิมพ์ทางชีวภาพนั้นถูกมองว่าเป็นเรื่องเพ้อฝัน
มาใช้ผลผลิตจากงานพิมพ์สามมิติ และทุ่มเททรัพยากรเพื่อผลักดัน มาก่อน” วากะ หลิน ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อกล่าว “แต่เมื่อ
ให้เป็นความจริงโดยเร็ว ปัจจุบันเทคโนโลยีดังกล่าวสามารถน�ามาใช้ ได้เห็นความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของวงการงานพิมพ์แบบสามมิติ
พิมพ์ชั้นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเซลล์มนุษย์ที่มีชีวิตได้แล้ว รวมทั้ง นี้แล้ว ก็คิดว่าการพิมพ์เซลล์ออกมาให้ใช้งานได้จริงนั้นไม่ไกล
ประสบความส�าเร็จจากการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโอซาก้าของญี่ปุ่น เกินเอื้อม”
ในการสร้างเนื้อเยื่อหัวใจแบบสามมิติที่เต้นได้เหมือนจริงแล้วด้วย
RICOH มุ่งมั่นในการผลักดันสถานที่ปฏิบัติงานให้เข้าสู่โลกดิจิทัล
เทคโนโลยีหลักที่น�ามาใช้กับเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทของ RICOH อย่างเต็มที่ ด้วยการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และน�ามาประยุกต์ใช้
คือ ระบบการฉีดน�้าหมึกความแม่นย�าสูงชนิดหยดต่อหยด เพื่อให้ได้ เป็นแนวทางใหม่ๆ ของงานพิมพ์อย่างต่อเนื่อง
ที่มา: https://www.ricoh.com/about/empowering-digital-workplaces/articles/ignite-a-revolution-in-manufacturing-with-printing-technology/
JUNE 2019 | RICOH FamIly 3