Page 16 - Ricoh Family
P. 16

It tRendS


















































                                         ทำ�คว�มรู้จักกับ


                    ก�รประมวลผลแบบ “ควอนตัม”




                        ควอนตัม กำาลังจะกลายเป็นก้าวสำาคัญที่ปฏิวัติ

                                          คอมพิวเตอร์ในอนาคต





            การประมวลผลแบบควอนตัมหรือ Quantum Computing เป็น   แล้วควอนตัมคอมพิวติ้งเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
          การใช้กลไกควอนตัมเพื่อประมวลผลข้อมูลปริมาณมหาศาลด้วย    แนวคิดเรื่องการประมวลผลแบบควอนตัมนี้ได้เริ่มมีขึ้นตั้งแต่
          ความเร็วมากอย่างเหลือเชื่อ อย่างเช่น ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ปกติ   ช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดย Richard Feynman และ Yuri Manin
          คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อปใช้เวลาค�านวณหลายปีหรือเป็นทศวรรษนั้น   ซึ่งทั้งสองคนนี้ต่างเชื่อว่าคอมพิวเตอร์ควอนตัมจะสามารถประมวลผล
          สามารถแก้ไขได้ภายในไม่กี่ชั่วโมงเมื่อหันมาใช้คอมพิวเตอร์ควอนตัม  ข้อมูลในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์แบบเดสก์ท็อปทั่วไปไม่สามารถท�าได้
                                                               และหลังจากนั้นไม่นานในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 ที่ทีมนักวิจัย
            ควอนตัมคอมพิวติ้งถือเป็นรากฐานของอนาคตใหม่ของซุปเปอร์  สามารถพัฒนาคอมพิวเตอร์ควอนตัมเครื่องแรกได้ในที่สุด
          คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้คนต่างคาดหวังให้คอมพิวเตอร์ควอนตัมเหล่านี้มี
          ประสิทธิภาพเหนือกว่าเทคโนโลยีที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น    หน่วยประมวลผลหลักของระบบประมวลผลแบบควอนตัมเรียกว่า
          ในวงการงานขึ้นโมเดลสามมิติ, โลจิสติกส์, การวิเคราะห์แนวโน้ม  ควอนตัมบิท หรือเรียกสั้นๆ ว่า Qubit ซึ่ง Qubit นี้ถูกสร้างขึ้นมา
          เหตุการณ์ต่างๆ, การเข้ารหัสข้อมูล, ไปจนถึงระบบสมองกลหรือ AI  ในคอมพิวเตอร์ควอนตัมโดยใช้คุณสมบัติของกลไกทางควอนตัม
                                                               ของอะตอมเดี่ยว, อนุภาคย่อยของอะตอม, หรือวงจรไฟฟ้าเหนี่ยวน�าสูง
                                                               (Superconducting Electrical Circuit)


       16   RICOH FamIly  |  JUNE 2019
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21